Kentang Bet Kentangbet https://adirach.com/ https://siputi.uinjambi.ac.id/ https://siamo.pmi.or.id/repository/ journals https://bkpsdm.serangkab.go.id/an-component/ https://repository.unwim.ac.id/ https://masyarakatdigital.uinjambi.ac.id/ https://epegawai.badanpangan.go.id/ekehadiran_bpn/ https://asset.inaba.ac.id/blog/ https://kecamatanbanjaran.bandungkab.go.id/public/pacar/ https://e-kes.bandungkab.go.id/ https://infolaras.bpbd.garutkab.go.id/ https://ffarmasi.unand.ac.id/pzeus/ http://118.97.39.130/ kentangbet kentangbet pacarzeus https://mbkm.inaba.ac.id/ https://api-ina-crc.kemkes.go.id/ https://pusatbisnis.uinjambi.ac.id/ https://journals.inaba.ac.id/ kentangbet slot gacor 2025 Kentangbet Kentangbet Kentangbet Kentangbet Kentangbet Kentangbet Kentangbet Slot Gacor Kentangbet Situs Gacor https://simas.unand.ac.id/storage/ https://perundungan.kemkes.go.id/kb/ Kentangbet KentangBet Login
เสวนาว่าด้วยการเชื่อมต่อระบบองค์ความรู้ชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่น - PASD Thailand

สมาคม PASD โดย ดร.ประเสริฐ ตระการศุภกร ผู้อำนวยการสมาคมฯ ในฐานะสมาชิก IPBES ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการ IPBES ให้ร่วมจัดเวที “เสวนาว่าด้วยการเชื่อมต่อระบบองค์ความรู้ชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่น : IPBES Indigenous and Local Knowledge Dialogue on the Nexus” 17-18 มกราคม 2566 ณ สวนพฤศาสตร์ทวีชล จังหวัดเชียงใหม่ ในเวที มีผู้เชี่ยวชาญจาก IPBES นานาชาติมาร่วมงานงานหลายประเทศ และได้เชิญผู้รู้ชนเผ่าพื้นเมืองในประเทศไทยเข้าร่วม และเปิดการประชุมโดยพิธีกรรมของชนเผ่าปกาเกอะญอ แจ้งเจ้าที่ศิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้รับรู้และผูกข้อมมือให้พรผู้เข้าร่วมประชุมเนื่องในปีใหม่ด้วย

เนื้อหารการประชุม ได้นำเสนอเนื้อหากระยวนการประเมินการเชื่อมต่อองค์ความรู้ของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่น มีสถานการณื สภาพ สถานภาพ มีอะไรบ้างที่คงอยู่ ได้ศูญหายไป ปัจจัย ตัวชี้วัด ที่เข้ามาส่งผลกระทบต่อ ชุมชน สังคม เศษรฐกิจ สิ่งแวดล้อมสุขภาพ สิทธิ การมีส่วนร่วม มีกฏหมาย นโยบาย และแนวทางการสนับสนุน ปกป้อง คุ้มครอง ส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ของชนเผ่าพื้นเมือง ให้องค์ความรู้พื้บ้านของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นยังมีคุณค่าและมีบทบาทสำคัญควบคู่กับนวัตกรรมเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้อย่างสมดูล ที่สอดคล้องกับหลักการของอนุศัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(UNFCCC) เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน(SDG)

วันที่ 19 มกราคม ผู้เข้าร่วมประชุม ได้เข้าไปดูงานในชุมชนที่ปฏิบัติการที่ดี 2 ชุมชน คือ บ้านห้วยอีค่าง อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ที่เน้นการจัดการชุมชนความเข้มแข็งของกลุ่มสตรี ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การแ้ไขปีัญหาที่ดิน การแปรรูปสมุนไพร การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ และบ้านหินลาดใน อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย เน้นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การทำไร่หมุนเวียน วนเกษตร การเลี้ยงผึ้งโพรง ซึ่งทั้ง 2 ชุมชน ได้แก้ปัญหา และพึ่งตนเองได้ในระดับตัวอย่างที่ดี เป็นที่ชื่นชมของผู้ศึกหาดูงานอย่างยิ่ง